สัญญาณอันตราย!! ปวดหัวเรื้อรังเสี่ยง Stroke แอบแฝง
การปวดหัว มักเป็นปัญหากังวลใจของใครหลายๆคนอาจก่อให้เกิดความไม่สบายกายในชีวิตประจำวัน และในบางโรคอาจมีอันตรายถึงชีวิตได้ ซึ่งเป็นอาการที่พบได้บ่อยและเกิดขึ้นได้กับทุกคน บางคนอาจมีอาการปวดๆ หายๆ แต่บางคนก็ปวดต่อเนื่องติดต่อกันเป็นระยะเวลานานหลายวัน หรือเป็นปีๆ ซึ่งเรียกว่า “อาการปวดหัวเรื้อรัง”
การปวดหัว มักเป็นปัญหากังวลใจของใครหลายๆคนอาจก่อให้เกิดความไม่สบายกายในชีวิตประจำวัน และในบางโรคอาจมีอันตรายถึงชีวิตได้ ซึ่งเป็นอาการที่พบได้บ่อยและเกิดขึ้นได้กับทุกคน บางคนอาจมีอาการปวดๆ หายๆ แต่บางคนก็ปวดต่อเนื่องติดต่อกันเป็นระยะเวลานานหลายวัน หรือเป็นปีๆ ซึ่งเรียกว่า “อาการปวดหัวเรื้อรัง”
อาการปวดหัวเรื้อรัง
อาการปวดหัวเรื้อรัง คือ คนที่มีอาการปวดหัวที่ในระยะเวลาที่มากกว่า 15 วันต่อเดือน หรือยาวนานมากกว่า 3 เดือนติดต่อกัน ซึ่งการปวดหัวเรื้อรังสามารถเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ
อาการปวดหัวเรื้อรังสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
• อาการปวดหัวที่ไม่เป็นอันตราย
• อาการปวดหัวบริเวณแถวหน้าผาก อาจเกี่ยวกับโรคไซนัส
• อาการปวดหัวเกี่ยวกับบริเวณคางร้าวขึ้นไป อาจเกี่ยวกับการนอนกัดฟัน ซึ่งจะมีความผิดปกติของกราม
• อาการปวดหัวไมเกรน
• อาการปวดหัวจากความเครียด การใช้ความคิด อาจเกิดความตึงของกล้ามเนื้อ
• อาการปวดหัวที่เป็นอันตราย
อาการปวดหัวเรื้อรัง คือ คนที่มีอาการปวดหัวที่ในระยะเวลาที่มากกว่า 15 วันต่อเดือน หรือยาวนานมากกว่า 3 เดือนติดต่อกัน ซึ่งการปวดหัวเรื้อรังสามารถเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ
อาการปวดหัวเรื้อรังสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
• อาการปวดหัวที่ไม่เป็นอันตราย
• อาการปวดหัวบริเวณแถวหน้าผาก อาจเกี่ยวกับโรคไซนัส
• อาการปวดหัวเกี่ยวกับบริเวณคางร้าวขึ้นไป อาจเกี่ยวกับการนอนกัดฟัน ซึ่งจะมีความผิดปกติของกราม
• อาการปวดหัวไมเกรน
• อาการปวดหัวจากความเครียด การใช้ความคิด อาจเกิดความตึงของกล้ามเนื้อ
• อาการปวดหัวที่เป็นอันตราย
ถ้ามีอาการปวดหัวแบบรุนแรงมาก หรือรุนแรงที่สุดในชีวิตที่ไม่เคยเป็นมาก่อน โดยมักจะมีอาการทางระบบประสาทร่วมด้วย เช่น
• มีอาการแขนขาชา อ่อนแรง
• มีการพูดไม่ชัด
• มีอาการปากเบี้ยว
• มีอาการชัก
• ตาพร่ามัว มองเห็นภาพซ้อน
• มีอาการแขนขาชา อ่อนแรง
• มีการพูดไม่ชัด
• มีอาการปากเบี้ยว
• มีอาการชัก
• ตาพร่ามัว มองเห็นภาพซ้อน
การมีอาการปวดหัวอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน อาจเป็นอาการของโรคอื่นที่แอบแฝง เช่น
• โรคหลอดเลือดสมอง
• โรคเส้นเลือดสมองตีบ
• โรคเส้นเลือดสมองแตก
• มีหนอง หรือว่ามีก้อนเนื้องอกอยู่ในสมอง
• โรคมะเร็งสมอง
• โรคเส้นเลือดสมองโป่งพอง
• โรคหลอดเลือดสมอง
• โรคเส้นเลือดสมองตีบ
• โรคเส้นเลือดสมองแตก
• มีหนอง หรือว่ามีก้อนเนื้องอกอยู่ในสมอง
• โรคมะเร็งสมอง
• โรคเส้นเลือดสมองโป่งพอง
แนวทางในการรักษา และการดูแลตัวเอง
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• การซื้อยาพาราเซตามอลกินเอง (หากมีอาการปวดหัวนิดๆหน่อยๆ) * ไม่ควรกินบ่อย
เป็นวิธีการรักษาเบื้องต้นเท่านั้น *
• การฝังเข็ม
• การกายภาพบำบัด
• การนวดสปอร์ต
• การรักษาด้วยกิจกรรมบำบัด เพื่อการผ่อนคลาย และการคลายเครียด
• การกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้า TMS
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• การซื้อยาพาราเซตามอลกินเอง (หากมีอาการปวดหัวนิดๆหน่อยๆ) * ไม่ควรกินบ่อย
เป็นวิธีการรักษาเบื้องต้นเท่านั้น *
• การฝังเข็ม
• การกายภาพบำบัด
• การนวดสปอร์ต
• การรักษาด้วยกิจกรรมบำบัด เพื่อการผ่อนคลาย และการคลายเครียด
• การกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้า TMS
ขอขอบคุณข้อมูล : พญ.พิมลพรรณ วิเสสสาระกูล
สอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่ม นัดหมายเข้ามาดูสถานที่ ติดต่อ
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare









KIN Clinic คลินิกกายภาพบำบัด
ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 8 อาคาร T3 Residence ปากซอยนาคนิวาส 20 ลาดพร้าว 71 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230
โทร 084-993-6988 / 02-020-1171
FaceBook : www.facebook.com/KinRehabClinic
แผนที่เดินทาง : shorturl.at/gknEH
ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูคิน
สาขา รพ.ประสานมิตร ถนนพหลโยธิน (รับเฉพาะผู้ป่วยนอก)
โทร : 081-632-8188 / 083-441-1363
LINE สอบถามรายละเอียด @KinPrasanmit (มี @ ข้างหน้า)
หรือ Click : https://lin.ee/UPfzPk7
KIN Origin Healthcare
สาขา Sukhumvit 107
FaceBook : https://www.facebook.com/KinOriginSukhumvit107/
หรือ Clink line : https://lin.ee/AB1DkvQ
หรือ Clink line : https://lin.ee/AB1DkvQ
สาขา Ramintra
FaceBook : https://www.facebook.com/KinOriginRamintra/
Tags