"เคลื่อนย้ายอย่างไร ให้ปลอดภัยไม่เสี่ยงล้ม"
โดยนักกายภาพบำบัด
กภ. มนัสวี ศรีชัยบุญสูง
กภ. กาญจนา แก้วกอง
โดยมีหัวข้อเรื่อง
- การเคลื่อนย้ายในระยะฟื้นตัว
- ข้อควรระวังในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
- ข้อห้าม ขณะเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
- การปฎิบัติการเคลื่อนย้าย
การเคลื่อนย้ายในระยะฟื้นตัว
คนไข้ในระยะฟื้นตัว: อาการของผู้ป่วยในช่วงนี้จะเริ่มทรงตัว และสามารถนั่งเป็นเวลานานๆได้ สามารถทำการเคลื่อนย้ายหรือเคลื่อนไหวตัวเองได้ แต่ยังไม่สามารถทำได้เองอย่างเต็มที่
ข้อควรระวังในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1.ตรวจเช็คสัญญาณชีพก่อนการเคลื่อนย้าย
2.ตรวจเช็คอุปกรณ์ เช่น ที่หิ้วพยุงไหล่ เข็มขัดรัดเอว รถเข็น
3.ประเมินความสามารถของคนไข้ก่อนทำการเคลื่อนย้าย
4.ระวังไม่ให้คนไข้ทิ้งตัวนั่งลงบนเก้าอี้ ในคนไข้ที่มีภาวะกระดูกพรุน เสี่ยงกระดูกก้นกบหักได้
5.ในผู้ป่วยที่มีการผ่าตัดข้อต่อ ให้ระวังเรื่องมุม และองศาของข้อต่อ
6.ขณะเข็นรถเข็น ให้รัดเข็มขัด และเช็คเท้าของผู้ป่วย ว่าลากพื้นหรือไม่
ข้อห้าม ขณะเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1.คนไข้ที่มีสัญญาณชีพไม่คงที่
2.ไม่ดึงแขนหรือขาข้างที่อ่อนแรง
3.ขณะเคลื่อนย้ายไม่ควรทำเร็วและแรง
สนใจสอบถามข้อมูลและติดตาม KIN
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
ปรึกษาแพทย์ โทร 065-594-2989 โทรสอบถาม 091-803-3071 / 02-020-1171
แอด LINE@ สอบถามรายละเอียด @kin.rehab มี @ ข้างหน้า หรือ Click : http://bit.ly/2M5f3Id
แอด LINE@ สอบถามรายละเอียด @kin.rehab มี @ ข้างหน้า หรือ Click : http://bit.ly/2M5f3Id
FaceBook : https://www.facebook.com/KIN.Rehabilitation
Blockdit : https://www.blockdit.com/kinrehab
Instagram : https://www.instagram.com/kin.rehabilitation
Youtube Channel : https://cutt.ly/TyTh3bd
Twitter : https://twitter.com/KinRehab
Pinterest : https://www.pinterest.com/kinrehabilitation
แผนที่ไป KIN : http://bit.ly/2VvPDq6
Website : https://www.kinrehab.com
#live #Facebooklive #การเคลื่อนย้าย #.ให้ปลอดภัยไม่เสี่ยงล้ม #ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง #Kinrehab
Tags