รู้หรือไม่ว่าคุณเป็นออฟฟิศซินโดรม ?
ออฟฟิศซินโดรม เกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อในท่าทางซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ออฟฟิศซินโดรม เกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อในท่าทางซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
อาการของโรค
▪️ ปวดกล้ามเนื้อที่ใช้ในการทำงาน เช่นการนั่งทำงานออฟฟิศหรือใช้งานคอมพิวเตอร์ ที่ต้องนั่งอย่างต่อเนื่อง และใช้มือทั้งสองข้าง ทำให้มีการใช้กล้ามเนื้อคอ บ่า และหลัง ร่วมกับท่าทางที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ
▪️ อาการจากการกดทับของเส้นประสาท ที่จะทำให้มีอาการชา หากถูกกดทับเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดอาการอ่อนแรงร่วมด้วย
▪️ อาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่นความเครียด ความผิดปกติของอวัยวะภายในที่มาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม อาจทำให้มีอาการหูอื้อ ตาพร่า เย็นที่ปลายมือปลายเท้า เหงื่อออกผิดปกติ วูบ
▪️ ปวดกล้ามเนื้อที่ใช้ในการทำงาน เช่นการนั่งทำงานออฟฟิศหรือใช้งานคอมพิวเตอร์ ที่ต้องนั่งอย่างต่อเนื่อง และใช้มือทั้งสองข้าง ทำให้มีการใช้กล้ามเนื้อคอ บ่า และหลัง ร่วมกับท่าทางที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ
▪️ อาการจากการกดทับของเส้นประสาท ที่จะทำให้มีอาการชา หากถูกกดทับเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดอาการอ่อนแรงร่วมด้วย
▪️ อาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่นความเครียด ความผิดปกติของอวัยวะภายในที่มาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม อาจทำให้มีอาการหูอื้อ ตาพร่า เย็นที่ปลายมือปลายเท้า เหงื่อออกผิดปกติ วูบ
แนวทางการรักษา มี 3 แนวทาง
1. การรักษาด้วยตัวเอง
2. การรักษาทางการภายภาพบำบัด
3. การรักษาทางด้านอื่นๆ เช่น การนวด การฝังเข็ม ฉีดยา
1. การรักษาด้วยตัวเอง
2. การรักษาทางการภายภาพบำบัด
3. การรักษาทางด้านอื่นๆ เช่น การนวด การฝังเข็ม ฉีดยา
การรักษาด้วยตัวเอง
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่นการนั่งติดกันเป็นเวลานาน การปรับสถานที่ทำงานให้เหมาะสม
- การยืดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่น
- การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่นการนั่งติดกันเป็นเวลานาน การปรับสถานที่ทำงานให้เหมาะสม
- การยืดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่น
- การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง
การรักษาทางการกายภาพบำบัด
1. การรักษามือนักกายภาพบำบัด (Manual Technique)
2. การรักษาด้วยเครื่องมือทางกายภาพบำบัด เช่น
• อัลตร้าซาวด์ (Ultrasound)
• การกระตุ้นไฟฟ้า (Electrical stimulation)
• เลเซอร์ (Laser)
• คลื่นกระแทก (Shock wave)
• คลื่นสั้น (Short wave)
1. การรักษามือนักกายภาพบำบัด (Manual Technique)
2. การรักษาด้วยเครื่องมือทางกายภาพบำบัด เช่น
• อัลตร้าซาวด์ (Ultrasound)
• การกระตุ้นไฟฟ้า (Electrical stimulation)
• เลเซอร์ (Laser)
• คลื่นกระแทก (Shock wave)
• คลื่นสั้น (Short wave)
3 การออกกำลังกายเพื่อการรักษา (Therapeutic exercise)
4.การรับคำแนะนำอื่นๆเช่นการยืดกล้ามเนื้อ การปรับอุปกรณ์และสถานที่ทำงาน การลดการทำงานของกล้ามเนื้อที่ไม่จำเป็น
4.การรับคำแนะนำอื่นๆเช่นการยืดกล้ามเนื้อ การปรับอุปกรณ์และสถานที่ทำงาน การลดการทำงานของกล้ามเนื้อที่ไม่จำเป็น
สนใจติดต่อใช้บริการ-สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
โทร. 091-8033071 / 02-0201171
สอบถามขอมูลผ่าน Line : http://bit.ly/2M5f3Id
สอบถามขอมูลผ่าน Line : http://bit.ly/2M5f3Id
สอบถามผ่านทาง Facebook (Inbox) : https://www.facebook.com/KIN.Rehabilitation
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
Tags