ปวดฝ่าเท้า อาจเป็นสัญญาณเตือน ! โรครองช้ำ
โรครองช้ำ หรือ โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ ( plantar fasciitis )
โรครองช้ำ คือ ภาวะที่เกิดจากการอักเสบของเอ็นใต้ฝ่าเท้า เป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะในเพศหญิงที่ใส่รองเท้าส้นสูง และ คนที่ใส่รองเท้าพื้นแข็งเดินลงน้ำหนักเท้าเป็นเวลานาน ๆ ทำให้พังผืดฝ่าเท้าตึง และมีอาการเจ็บส้นเท้า หรือฝ่าเท้า ซึ่งโรครองช้ำควรได้รับการรักษาอย่างโดยเร็วที่สุด เพราะถ้าหากปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานานก็จะเกิดอาการเรื้อรังของโรคได้
โรครองช้ำ คือ ภาวะที่เกิดจากการอักเสบของเอ็นใต้ฝ่าเท้า เป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะในเพศหญิงที่ใส่รองเท้าส้นสูง และ คนที่ใส่รองเท้าพื้นแข็งเดินลงน้ำหนักเท้าเป็นเวลานาน ๆ ทำให้พังผืดฝ่าเท้าตึง และมีอาการเจ็บส้นเท้า หรือฝ่าเท้า ซึ่งโรครองช้ำควรได้รับการรักษาอย่างโดยเร็วที่สุด เพราะถ้าหากปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานานก็จะเกิดอาการเรื้อรังของโรคได้
อาการของโรครองช้ำ
ผู้ที่เป็นโรครองช้ำ หรือ (โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ) จะมีอาการปวดและกดเจ็บบริเวณส้นเท้า ในระยะแรกอาจเกิดอาการภายหลังการออกกำลังกาย
การเดิน หรือ การยืนเป็นเวลานาน ๆ แต่เมื่อมีอาการมากขึ้น ผู้ป่วยจะรู้สึกปวดส้นเท้าอยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่การเดิน 2-3 ก้าว แรกของวัน
ผู้ที่เป็นโรครองช้ำ หรือ (โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ) จะมีอาการปวดและกดเจ็บบริเวณส้นเท้า ในระยะแรกอาจเกิดอาการภายหลังการออกกำลังกาย
การเดิน หรือ การยืนเป็นเวลานาน ๆ แต่เมื่อมีอาการมากขึ้น ผู้ป่วยจะรู้สึกปวดส้นเท้าอยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่การเดิน 2-3 ก้าว แรกของวัน
วิธีการรักษาโรครองช้ำ
• การทำกายภาพบำบัด
เช่นการบริหารเอ็นร้อยหวาย และพังผืดฝ่าเท้า
• การรักษาด้วยคลื่นความถี่ (Shock-wave therapy)
เป็นการกระตุ้นเอ็นพังผืดฝ่าเท้า เพื่อให้มีเส้นเลือดมาเลี้ยงซ่อมแซมตัวเอง ได้ผลการรักษาใกล้เคียงกับการผ่าตัด
• การบริหาร
การบริหารยืดเอ็นร้อยหวาย และการบริหารเพื่อยืดพังผืดเท้า
• การฉีดยาลดการอับเสบ
ใช้กับผู้ช่วยที่มีอาการรุนแรงเท่านั้น
• การลดน้ำหนัก
การออกกำลังกายที่ไม่มีการกระแทกบริเวณส้นเท้าก่อน เช่น การว่ายน้ำ หรือการปั่นจักรยาน
• การทำกายภาพบำบัด
เช่นการบริหารเอ็นร้อยหวาย และพังผืดฝ่าเท้า
• การรักษาด้วยคลื่นความถี่ (Shock-wave therapy)
เป็นการกระตุ้นเอ็นพังผืดฝ่าเท้า เพื่อให้มีเส้นเลือดมาเลี้ยงซ่อมแซมตัวเอง ได้ผลการรักษาใกล้เคียงกับการผ่าตัด
• การบริหาร
การบริหารยืดเอ็นร้อยหวาย และการบริหารเพื่อยืดพังผืดเท้า
• การฉีดยาลดการอับเสบ
ใช้กับผู้ช่วยที่มีอาการรุนแรงเท่านั้น
• การลดน้ำหนัก
การออกกำลังกายที่ไม่มีการกระแทกบริเวณส้นเท้าก่อน เช่น การว่ายน้ำ หรือการปั่นจักรยาน
ขอขอบคุณข้อมูล : โรงพยาบาลเพชรเวช
KIN Clinic คลินิกกายภาพบำบัด
ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 8 อาคาร T3 Residence ปากซอยนาคนิวาส 20 ลาดพร้าว 71 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230
LINE@ สอบถามรายละเอียด @kinClinic (มี@ด้านหน้า) หรือ https://lin.ee/vuwOSaC
FaceBook : www.facebook.com/KinRehabClinic
แผนที่เดินทาง : shorturl.at/gknEH
KIN Origin Healthcare
สาขา Sukhumvit 107
สาขา Ramintra
Tags