กิจกรรมบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดสมองที่ทำให้สมองขาดเลือด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
▪️ หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke) 80%
▪️ หลอดเลือดสมองแตก(hemorrhagic stroke) 20%
▪️ หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke) 80%
▪️ หลอดเลือดสมองแตก(hemorrhagic stroke) 20%
อาการ เมื่อสมองขาดเลือดจะทำให้สมองไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่งอาการแสดงต่างๆ จะมากหรือน้อยขึ้นกับระดับความรุนแรงและตำแหน่งของสมองที่ถูกทำลาย เช่น
• ชาหรืออ่อนแรงที่ใบหน้าและ/หรือบริเวณแขนขาครึ่งซีกของร่างกาย
• พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น้ำลายไหล กลืนลำบาก
• ปวดศีรษะ เวียนศีรษะทันทีทันใด
• ตามัว มองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก หรือตาบอดข้างเดียวทันทีทันใด
• เดินเซ ทรงตัวลำบาก
• ชาหรืออ่อนแรงที่ใบหน้าและ/หรือบริเวณแขนขาครึ่งซีกของร่างกาย
• พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น้ำลายไหล กลืนลำบาก
• ปวดศีรษะ เวียนศีรษะทันทีทันใด
• ตามัว มองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก หรือตาบอดข้างเดียวทันทีทันใด
• เดินเซ ทรงตัวลำบาก
กิจกรรมบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
"นักกิจกรรมบำบัดมีบทบาทสำคัญในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยจะทำงานร่วมกับบุคคลากรทางการแพทย์อื่น ๆ โดยมีหน้าที่ในการประเมินและฝึกหัดเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย การรับรู้ สติปัญญา จิตใจ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน การทำงาน ในการกลับไปใช้ชีวิตในสังคม รวมถึงการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปดำเนินชีวิตได้ตามศักยภาพที่พึงจะมีได้สูงสุดโดยไม่เป็นภาระหรือให้เป็นภาระแก่ผู้อื่นหรือน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้
"นักกิจกรรมบำบัดมีบทบาทสำคัญในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยจะทำงานร่วมกับบุคคลากรทางการแพทย์อื่น ๆ โดยมีหน้าที่ในการประเมินและฝึกหัดเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย การรับรู้ สติปัญญา จิตใจ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน การทำงาน ในการกลับไปใช้ชีวิตในสังคม รวมถึงการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปดำเนินชีวิตได้ตามศักยภาพที่พึงจะมีได้สูงสุดโดยไม่เป็นภาระหรือให้เป็นภาระแก่ผู้อื่นหรือน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้
การฝึกการเรียนรู้การรรับความรู้สึก
การฝึกให้ผู้ป่วยรับหรือแปลผลสิ่งเร้าที่มากระตุ้นประสาทสัมผัสได้ใหม่ เช่น การเพิ่มความสามารถในการรับความรู้สึกรับสัมผัส และรูปทรง โดยให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมที่ได้สัมผัสกับสิ่งที่มีขนาด รูปทรง และพื้นผิวต่าง ๆ
การฝึกให้ผู้ป่วยรับหรือแปลผลสิ่งเร้าที่มากระตุ้นประสาทสัมผัสได้ใหม่ เช่น การเพิ่มความสามารถในการรับความรู้สึกรับสัมผัส และรูปทรง โดยให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมที่ได้สัมผัสกับสิ่งที่มีขนาด รูปทรง และพื้นผิวต่าง ๆ
สนใจปรึกษา
KIN - Rehabilitation & Homecare
โทร. 091 803-3071 , 0-2020-1171
KIN - Rehabilitation & Homecare
โทร. 091 803-3071 , 0-2020-1171
สอบถามขอมูลผ่าน Line : http://bit.ly/2M5f3Id
สอบถามผ่านทาง Facebook (Inbox) : https://www.facebook.com/KIN.Rehabilitation
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
ที่ตั้ง : เลขที่ 6 ซอยนาคนิวาส 18 (ลาดพร้าว 71) แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10220
(เวลาทำการ ทุกวัน 8.00 - 20.00 น.)
(เวลาทำการ ทุกวัน 8.00 - 20.00 น.)
Tags