โรคหลอดเลือดสมอง เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดสมองที่ทำให้สมองขาดเลือด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
▪️ หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke) พบได้ประมาณ 80%
▪️ หลอดเลือดสมองแตก(hemorrhagic stroke) พบได้ประมาณ 20%
▪️ หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke) พบได้ประมาณ 80%
▪️ หลอดเลือดสมองแตก(hemorrhagic stroke) พบได้ประมาณ 20%
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้
▪️ อายุ เมื่ออายุมากขึ้น หลอดเลือดก็จะเสื่อม หนาและแข็งขึ้นจากการที่มีไขมันและหินปูนมาเกาะ
▪️ เพศ พบว่าเพศชายมีความเสี่ยงสูงกว่าเพศหญิง
▪️ ภาวะการแข็งตัวของเลือดเร็วกว่าปกติ
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้
▪️ อายุ เมื่ออายุมากขึ้น หลอดเลือดก็จะเสื่อม หนาและแข็งขึ้นจากการที่มีไขมันและหินปูนมาเกาะ
▪️ เพศ พบว่าเพศชายมีความเสี่ยงสูงกว่าเพศหญิง
▪️ ภาวะการแข็งตัวของเลือดเร็วกว่าปกติ
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้
▪️ ความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดของโรคหลอดเลือดสมอง
▪️ เบาหวานจะทำให้หลอดเลือดแข็งทั่วร่างกาย หากเกิดที่สมองจะมีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมองมากกว่าคนปกติ 2-3 เท่า
▪️ ไขมันในเลือดสูง คือภาวะไขมันสะสมอยู่ตามผนังหลอดเลือด ทำให้กีดขวางการลำเลียงเลือด
▪️ โรคหัวใจเช่น โรคลิ้นหัวใจผิดปกติหัวใจเต้นผิดจังหวะเป็นสาเหตุของการเกิดลิ่มเลือดอุดตันที่หลอดเลือดสมอง
▪️ การสูบบุหรี่ ทำให้หลอดเลือดแข็งตัว เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองถึง 3.5%
▪️ ยาคุมกำเนิด
▪️ โรคซิฟิลิส เป็นสาเหตุของหลอดเลือดอักเสบและหลอดเลือดแข็ง
▪️ การขาดการออกกำลังกาย
▪️ ความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดของโรคหลอดเลือดสมอง
▪️ เบาหวานจะทำให้หลอดเลือดแข็งทั่วร่างกาย หากเกิดที่สมองจะมีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมองมากกว่าคนปกติ 2-3 เท่า
▪️ ไขมันในเลือดสูง คือภาวะไขมันสะสมอยู่ตามผนังหลอดเลือด ทำให้กีดขวางการลำเลียงเลือด
▪️ โรคหัวใจเช่น โรคลิ้นหัวใจผิดปกติหัวใจเต้นผิดจังหวะเป็นสาเหตุของการเกิดลิ่มเลือดอุดตันที่หลอดเลือดสมอง
▪️ การสูบบุหรี่ ทำให้หลอดเลือดแข็งตัว เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองถึง 3.5%
▪️ ยาคุมกำเนิด
▪️ โรคซิฟิลิส เป็นสาเหตุของหลอดเลือดอักเสบและหลอดเลือดแข็ง
▪️ การขาดการออกกำลังกาย
อาการของโรค
เมื่อสมองขาดเลือดจะทำให้สมองไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่งอาการแสดงต่างๆ จะมากหรือน้อยขึ้นกับระดับความรุนแรงและตำแหน่งของสมองที่ถูกทำลาย เช่น
▪️ ชาหรืออ่อนแรงที่ใบหน้าและ/หรือบริเวณแขนขาครึ่งซีกของร่างกาย
▪️ พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น้ำลายไหล กลืนลำบาก
▪️ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะทันทีทันใด
▪️ ตามัว มองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก หรือตาบอดข้างเดียวทันทีทันใด
▪️ เดินเซ ทรงตัวลำบาก
เมื่อสมองขาดเลือดจะทำให้สมองไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่งอาการแสดงต่างๆ จะมากหรือน้อยขึ้นกับระดับความรุนแรงและตำแหน่งของสมองที่ถูกทำลาย เช่น
▪️ ชาหรืออ่อนแรงที่ใบหน้าและ/หรือบริเวณแขนขาครึ่งซีกของร่างกาย
▪️ พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น้ำลายไหล กลืนลำบาก
▪️ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะทันทีทันใด
▪️ ตามัว มองเห็นภาพซ้อนหรือเห็นครึ่งซีก หรือตาบอดข้างเดียวทันทีทันใด
▪️ เดินเซ ทรงตัวลำบาก
อาการเหล่านี้มักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน ในรายที่มีภาวะสมองขาดเลือดแบบชั่วคราว (transient ischemic attack: TIA) อาจมีอาการเตือนเหล่านี้เกิดขึ้นชั่วขณะแล้วหายไปเอง หรืออาจเกิดขึ้นได้หลายครั้งก่อนจะมีอาการสมองขาดเลือดแบบถาวร ดังนั้นหากมีอาการผิดปกติเกิดขึ้น ควรรีบพบแพทย์ทันที เนื่องจากอาการของโรคหลอดเลือดสมองจัดเป็นอาการร้ายแรงและอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต หรือหากไม่ถึงชีวิต ก็อาจทำให้กลายเป็นโรคอัมพาต อัมพฤกษ์ ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองและต้องใช้เวลาในการรักษาฟื้นฟูสุขภาพต่อไป
การรักษา
ขึ้นกับสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองว่าเป็นหลอดเลือดสมองตีบหรือหลอดเลือดสมองแตก โดยจะมีแนวทางการรักษาที่แตกต่างกัน
ขึ้นกับสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองว่าเป็นหลอดเลือดสมองตีบหรือหลอดเลือดสมองแตก โดยจะมีแนวทางการรักษาที่แตกต่างกัน
การรักษาทางกายภาพบำบัด
▪️ เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
▪️ เพิ่มความยืดหยุ่น ลดภาวะเกร็ง
▪️ ฝึกการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อและข้อต่อ (coordination)
▪️ ฝึกการทรงตัว
▪️ ฝึกการเดิน
▪️ ฝึกการใช้มือ
▪️ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ข้อติด แผลกดทับ การเกร็ง ปอดติดเชื้อ ภาวะความดันต่ำจากการเปลี่ยนท่าทาง กระดูกพรุน เป็นต้น
▪️ เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
▪️ เพิ่มความยืดหยุ่น ลดภาวะเกร็ง
▪️ ฝึกการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อและข้อต่อ (coordination)
▪️ ฝึกการทรงตัว
▪️ ฝึกการเดิน
▪️ ฝึกการใช้มือ
▪️ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ข้อติด แผลกดทับ การเกร็ง ปอดติดเชื้อ ภาวะความดันต่ำจากการเปลี่ยนท่าทาง กระดูกพรุน เป็นต้น
อ้างอิงข้อมูลเกี่ยวกับโรค
bumrungrad.com/th/conditions/stroke
bumrungrad.com/th/conditions/stroke
สนใจติดต่อใช้บริการ-สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
โทร. 091-8033071 / 02-0201171
สอบถามขอมูลผ่าน Line : http://bit.ly/2M5f3Id
สอบถามขอมูลผ่าน Line : http://bit.ly/2M5f3Id
สอบถามผ่านทาง Facebook (Inbox) : https://www.facebook.com/KIN.Rehabilitation
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
ที่ตั้ง : เลขที่ 6 ซอยนาคนิวาส 18 (ลาดพร้าว 71) แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10220
(เวลาทำการ ทุกวัน 8.00 - 20.00 น.)
(เวลาทำการ ทุกวัน 8.00 - 20.00 น.)
Tags